สุขกับสีน้ำคือการวาดภาพสะบัดสีตามจิตนาการของเราโดยที่ไม่มีขอบเขตขีดกันในการจะวาดภาพสีน้ำนั่นได้ต้องอาศัยการเรียนรู้มาอย่างยาวนานไม่ใช่ว่าคือใครๆอยู่ๆจะมาเป็นเลยต้องมีการฝึกซ้อมการวาดมาก่อน อ.สุกิจ ศุกระกาญน์ ได้กล่าวไว้และงานชิ้นเองของอาจารย์ที่ได้วาดสีน้ำไว้นั้นคือ สุขกับสีน้ำ คืองาน นิทรรศการสุขกับสีน้ำ ซึ่งตัวอาจารย์เองเป็นคนจากภาคใต้ซึ่งตรีแนวความคิดของอาจารย์นั้นดูแปลกจากคนอื่นคนธรรมดาซึ่งทักษะหรือวิทีการวาดการคิดการเขียนภาพแต่ละภาพของอาจารย์นั้นคือ หนึ่งเลยต้องรู้จักการ ตวัด ตวัดคือการการที่นำเอาภูกันมาจุ่มสีแล้วก็สะบันลงไปบนกระดาษ สอง หวด คืออะไร คือการที่วาดรูปโดยการจับภูกันไปในแนวราบแนวนอน ซัดคืออะไร คือการนำภูกันหลายขนาดมาจุ่มสีคนละสีแต่วาดไปทีเดี่ยวพร้อมกัน ขึ้นตอนสุดท้ายที่อาจารย์ สุกิจ ศุกระกาญน์ ได้สอนคนทั้งนิทรรศการคือการระบายสีการระบายสีก็คือใช่การนำสีไประบายระเลงบนกะดาษแต่อาจารย์สุกิจ ศุกระกาญน์ บอกว่าการระบายสีที่ถูกต้องมันต้องมาจากจิตวิญญาณและความรู้สึกไม่ใช่ว่าชอบสีไหนก็ใส่ๆละเลงลงไปแต่ความโดดเด่นของสีน้ำนั่นคือการที่ทำวาดภาพโดยที่ไม่ต้องมีการวาดเส้นขึ้นมาก่อนคือวาดด้วยจินตนาการล้วนออกมาจากความคิดเราล้วนๆซึ่งอาจารย์
สุกิจ ศุกระกาญน์ ได้ทำการแนวทางเปิดการจัด นิทรรศการ ประกวดวาดภาพสีน้ำโดยมีลูกศิษย์ชองอาจารย์เองลงประกวดด้วยซึ่งกรรมการได้ตัดสินผลคะแนนออกมาคือภาพวาดที่ชนะคือ ภาพวาดหุบเขาแห่งล่องนภา เป็นภาพวาดของนิสิตนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยราชพระนคร ซึ่งในงานอาจารย์เองก็บอกไว้ว่าภาพวาดที่ได้รางวัลชนะเลิศจาดนิทรรศการนั้นจะถูกนำเอาไปเก็บรักษาไว้ให้คนอื่นมาดูความสวยงามของภาพวาดนั้น ซึ่งในนิทรรศการ นั้นมีภาพวาดต่างๆมากมายทั้งที่ได้รางวัลและไม่ได้ซึ่งเป่าหมายหลักของการจัดนิทรรศการนี่คือการที่เราทำแนวความคิดของ ศิลปะ นำมาประยุคใช้ในชีวิตประจำวัน